อัตราบริการภาคการขนส่งและบริการดิจิทัล สนับสนุนการฟื้นตัวของภาคบริการในไตรมาสที่ 3 ของปี 2564
- pmtwmocgoth
- Mar 8, 2022
- 1 min read

การค้าบริการทั่วโลกขยายตัวขึ้น 25% (YoY) ในไตรมาสที่ 3/2564 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากบริการ ด้านธุรกิจ คอมพิวเตอร์ บริการด้านการเงิน และบริการขนส่ง จากอัตราค่าบริการขนส่งปรับสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การค้าบริการยังมีมูลค่าต่ำกว่าช่วงก่อนสถานการณ์โควิด-19 ประมาณ 5% เมื่อเทียบกับไตรมาส 3 ของปี 2562 ที่มูลค่าการค้าบริการสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ทั้งนี้ การกระจายวัคซีนที่ยังไม่ทั่วถึง การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด สายพันธุ์ใหม่ และการปิดพรมแดนยังคงเป็นอุปสรรคต่อการเดินทางระหว่างประเทศ
การค้าบริการ

Average of exports and imports.
Source: WTO-UNCTAD-ITC estimates.
การค้าบริการในไตรมาสที่ 3 ขยายตัว 24% สอดคล้องกับแนวโน้มของการค้าสินค้าในช่วงเวลาเดียวกัน โดยบริการขนส่งทั่วโลกขยายตัว 45% (YoY) เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัว 12% (YoY) เมื่อเทียบช่วงเดียวกันของปี 2562 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากความต้องการสินค้าของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงล็อกดาวน์ แนวโน้มการใช้บริการที่อาศัยการพบปะลดลง และมาตรการการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งนี้ ปัญหาคอขวดและความแออัดในท่าเรือขนส่งสินค้า ภาวะขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์และความล่าช้าในการขนส่ง ส่งผลให้อัตราบริการขนส่งสูงขึ้นอย่างมากในไตรมาส 3/2564 โดยการส่งออกภาคบริการขนส่งของภูมิภาคเอเชียขยายตัว 71% (YoY) เมื่อเทียบกับปีก่อน และ 46% เมื่อเทียบกับไตรมาส 3/2562
อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของบริการขนส่งทางอากาศยังคงจำกัดและมีมูลค่าต่ำกว่าช่วงก่อนสถานการณ์ โควิด-19 เนื่องจากมาตรการจำกัดการเดินทางระหว่างประเทศ โดยแม้ว่าการใช้จ่ายของผู้เดินทางระหว่างประเทศ สูงขึ้น 54% (YoY) เมื่อเทียบกับปีก่อนจากปัจจัยฐานต่ำ แต่การใช้จ่ายยังคงต่ำกว่ามูลค่าก่อนเกิดโรคระบาดในช่วงไตรมาส 3/2562 ถึง 52% เมื่อพิจารณาเป็นรายภูมิภาค พบว่า ภูมิภาคยุโรปมีสัญญาณฟื้นตัวมากที่สุดโดยมีมูลค่าการใช้จ่ายลดลงจากช่วงก่อนโควิด-19 เพียง 32% เนื่องจากการผ่อนปรนมาตรการเดินทางในช่วงฤดูร้อนและ การใช้ใบรับรองการฉีดวัคซีนเพื่ออำนวยความสะดวกการเดินทาง ขณะที่ ภูมิภาคเอเชีย มูลค่าการส่งออก
การท่องเที่ยวยังอยู่ต่ำกว่าระดับก่อนเกิดโรคระบาดถึง 81% เนื่องจากหลายประเทศยังคงมาตรการปิดประเทศ โดยพบว่ามูลค่าการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวในกัมพูชาซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออกการท่องเที่ยวรายใหญ่ที่สุดของกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (LDCs) ลดลงถึง 97% ทั้งนี้ การประมาณการเบื้องต้นระบุว่าการส่งออกการท่องเที่ยว ของกลุ่มประเทศ LDC ในครึ่งปีแรกของปี 2564 ลดลง 67% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปี 2562
ภาคบริการย่อยอื่น ๆ
ในช่วงมกราคม-กันยายน พ.ศ. 2564 การส่งออกบริการธุรกิจคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น 34% เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันในปี 2562 ทั้งในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (29%) มอริเชียส (42%) ไอร์แลนด์ (51%) ยูเครน (63%) และบังกลาเทศ (68%) โดยการทำงาน การศึกษา และความบันเทิงทางไกล รวมถึงอีคอมเมิร์ซ ทำให้ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้นในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union) ประมาณการณ์ว่าอัตราการส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตระหว่างประเทศขยายตัว 30% ในปี 2564 อย่างไรก็ดี มูลค่าบริการโทรคมนาคมลดลง 4% ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2564 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 สะท้อนจากราคาตลาดโลก ลดลง โดยเฉพาะบริการสื่อสารคมนาคมแบบชุดบริการ (Bundled communication services)
ในทางกลับกัน การก่อสร้างยังเป็นหนึ่งในสาขาที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 มากที่สุด โดยในปี 2563 การส่งออกทั่วโลกลดลง 18% และในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2564 การส่งออกบริการก่อสร้างทั่วโลกลดลง 12% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีพ.ศ. 2562 นอกจากนี้ การส่งออกของสหภาพยุโรปและจีนซึ่งเป็นผู้นำตลาดรายใหญ่นั้น ลดลง 19% และ 4% จากปี 2562 โดยเป็นผลจากความล่าช้าหรือการยกเลิกโครงการก่อสร้าง เพราะต้นทุนการผลิต (เช่น เหล็ก) ที่เพิ่มขึ้นจากปัญหาห่วงโซ่อุปทาน และขาดแคลนแรงงาน
ข้อมูลล่าสุดระบุว่ามูลค่าการส่งออกบริการของประเทศต่าง ๆ ในเดือนมกราคม - พฤศจิกายน 2564 ยังหดตัวในหลายประเทศเมื่อเทียบกับมูลค่าในปี 2562 โดยลดลงในออสเตรเลียมากที่สุด 35% ขณะที่การส่งออกบริการจากจีน และเกาหลีใต้ เพิ่มขึ้น 37% และ 12% (ตามลำดับ) นำโดยบริการขนส่ง และการส่งออกจากปากีสถานและอินเดียขยายตัวจากบริการคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ การส่งออกภาคบริการทั่วยุโรปนั้นมีแนวโน้มแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่
สถานการณ์ภาคธุรกิจบริการในประเทศไทย
ภาคบริการของไทยมีแนวโน้มเติบโตทั้งในเชิงมูลค่าและสัดส่วนภาคบริการในเศรษฐกิจไทย ผลจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในภาคบริการมากขึ้น เช่น แพลตฟอร์มออนไลน์ที่เอื้อต่อการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวทั่วโลก การพัฒนาหุ่นยนต์ผ่าตัดผู้ป่วย และบริการการแพทย์ทางไกล ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมมีการใช้นวัตกรรมการบริการเพื่อสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ เช่น การออกแบบและการให้คำปรึกษาโดยใช้ AI และการใช้ Big Data เพื่อปรับกลยุทธ์และตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ การปรับปรุงกฎระเบียบและนโยบายการลงทุนของต่างชาติในภาคบริการ จะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยสนับสนุนภารบริการให้เติบโตและส่งเสริมการผลักดันให้เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยภาคบริการต่อไปในอนาคต
Source:
Daftar Link Dofollow
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
lapak7d
situs slot demo
slot demo X1000
scatter hitam
slot toto
situs slot online
situs slot online
situs slot online
situs slot
situs slot
situs slot
situs slot
situs slot
sudirman168
sudirman168
sudirman168
sudirman168
slot gacor
situs slot toto
situs toto
situs toto
situs toto
situs toto
slot gacor
slot gacor
toto singapure
situs toto 4d
toto slot 4d
pg soft mahjong2
mahjong2
pocari4d
pocari4d
pocari4d
pocari4d
pocari4d
pocari4d
pocari4d
pocari4d
terminalbet
terminalbet
situs slot gacor
data pemilu
utb bandung
universitas lampung
slot bonus new member
ksr88
ksr88
ksr88
ksr88
ksr88
Slot Dana
situs slot gacor hari ini
situs slot gacor
situs toto slot